1. อย่าให้อิ่มเกินไป หรือ หิวเกินไป ควรฝึกก่อนทานอาหาร หรือ หลังรับประทานอาหารแล้วอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
2. ถ่ายปัสสาวะให้หมดก่อนฝึก
3. ต้องตั้งใจจริง ๆ
1. เสื้อยืดแขนสั้น หรือแขนยาวตามอัธยาศัย
2. กางเกงยืด จะใช้ขายาวหรือขาสั้นก็ได้ สำหรับท่านชายควรมีกางเกงชั้นในยืด หรือกางเกงอาบน้ำชั้นใน
3. ผ้าขนหนูเช็ดเหงื่อ 2 ผืน
4. ผ้าปูรองอาสนะ 1 ผืน
1. ในระยะ 1-7 วันแรก หลังจากฝึกโยคะรู้สึกปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย แต่ท่านอย่าพึ่งท้อถอย เพราะแสดงว่าก้อนไขมันตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายท่านถูกใช้ เมื่อเริ่มรู้สึกปวดเมื่อย ฝึกซ้ำหลายครั้งเข้า กล้ามเนื้อจะเคยชินและจะหายไปเอง
2. การฝึกหายใจ ระหว่างฝึกโยคะ บางคนครั้งแรกอาจจะสับสน แต่เมื่อได้รับการฝึกที่ถูกต้อง เป็นเงื่อนไขที่สำคัญ เพราะจะทำให้ได้ผลดียิ่งขึ้น เพราะฉะนั้น ระหว่างฝึกต้องเอาใจใส่และจดจำเมื่อครูผู้ฝึกบอกทุกระยะ และต่อไป ทุกคนจะจำได้และสามารถทำได้เองโดยอัตโนมัติ
3. ผู้เริ่มฝึกจะต้องตั้งต้นฝึกท่าที่เริ่มต้นในขั้นแรกตามระยะที่กำหนดได้ก่อนแล้ว จึงจะผ่านขั้นต่อไป จะเป็นประโยชน์ และไม่เสี่ยงที่จะเกิดอันตรายแก่ตัวด้วย เมื่อถึงเวลาพักจำเป็นต้องพักจริง ๆ
4. ผู้ฝึกจะต้องมีสมาธิ ตั้งใจฝึกจริง ๆ ตั้งใจจริงและไม่สนใจต่อสิ่งรอบข้าง แล้วผู้ฝึกจะจำท่าทาง และการหายใจเข้า-กลั้น-ออก ได้เร็วที่สุด
- โรคความอ้วน
- โรคหวัดเรื้อรัง
- ไซนัสอักเสบ
- หายใจไม่สะดวก โรคหอบหืด
- โรคปวดตามข้อ
- โรคเบาหวาน
- โรคความจำเสี่อม สมองเฉื่อยชา
- โรคปวดศรีษะ เวียนศรีษะเป็นประจำ
- โรคมือ เท้าชา
- โรคความดันโลหิตสูง
- โรคหัวใจ
- โรคท้องผูกอาหารไม่ย่อย
- โรคไขมันในเส้นเลือดสูง
- โรคกระเพาะอาหาร และลำไส้
- โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
- ความเครียด และความกังวล
- โรคนอนไม่หลับ
- โรคเหน็บชา
- ผิวพรรณไม่สดใส
- สิว ฝ้า และรอยย่นบนใบหน้า
- สายตาสั้น เสียงสั่น เสียงไม่ไพเราะ
|